สอนเขียนโปรแกรม Eagle สอนออกแบบลายวงจรพิมพ์หรือ PCB ด้วย Eagle ที่นี่ที่เดียวสอนตั้งแต่ต้นจนจบ

การออกแบบลายวงจรพิมพ์ด้วย Eagle แบบหน้าเดียว

| วันเสาร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2553
หลังจากเราได้เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Eagle เบื้องต้นแล้ว คราวนี้เราจะมาออกแบบลายวงจรพิมพ์กันทีละขั้นตอน กันเลยครับ ให้เตรียมวงจรที่เราต้องการออกแบบไว้เลยครับ เดียวเราจะมาออกแบบ
1.ให้เราเตรียมวงจรที่เราต้องการจะใช้ก่อนครับ


19.การคัดลอกอุปกรณ์

| วันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553
เราสามารถคัดลอกอุปประกรณ์ได้สองแบบ แบบตัวเดียวและแบบทั้งกลุ่ม

-การคัดลอกอุปกรณ์ตัวเดียวสามารถทำได้ดังนี้
คลิกที่ปุ่ม

แล้วนำมาคลิกอุปกรณ์ที่เราต้องการ ตัวอุปกรณ์จะลอยติดมาแล้วนำไปวางบริเวรที่เราต้องการวาง ลำดับอุปกร์จะเรียงเองโดยอัตโนมัติ

18.วิธีย้ายตำแหน่งค่าอุปกรณ์ใน Eagle

| วันอาทิตย์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2553



ถ้าเพื่อนๆเห็นว่าค่าอุปกรณ์มันอjยูในมุมที่ไม่สวยงามเพื่อนๆสามารถจัดการหมุนย้ายค่าตำแหน่งได้ใหม่ดังนี้
1.เลือกไปที่ปุ่ม

แล้วนำมาคลิกที่ตัวอุปกรณ์ที่เราต้องการย้ายค่าตำแหน่งให้เป็น+

17.การกำหนดค่าให้อุปกรณ์

| วันพุธที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ในการเขียน Schermatic ในโปแกรม Eagle นั้นเราสามารถกำหนดค่าของอุปกรณ์ได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1.ให้เลือกไปที่ปุ่ม
2.นำมาคลิกอุปกรณ์ที่เราต้องการกำหนดค่า
3.ใส่ค่าอุปกรณ์ในช่อง New Value for R3

16.การตรวจสอบความผิดพลาดของวงจรในโปรแกรม Eagle

| วันศุกร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2553
เมื่อเราสร้างวงจรตามที่เราต้องการได้แล้ว แต่ยังไม่แน่ใจว่าวงจรที่เราได้สร้างนั้นถูกต้องหรือผิดพลาดอะไรรึเปล่า โปรแกรม Eagle ก็สามารถช่วยเราได้ เราสามารถทำการตรวจสอบวงจรที่เราสร้างขึ้นมาได้ดังนี้
ให้คลิกที่ Tools->Erc หรือคลิกที่ปุ่ม ก็ได้ หลังจากนั้นโปรแกรมจะแจ้งผลให้เรารู้ หากมีความผิดพลาดหรือเกิดการ Error ขึ้น โปรแกรมจะบอกจุดที่ วงจร Error ให้เราทำการแก้ไข แต่หากไม่ความผิดพลาดผิดพลาดหรือไม่ Error จะไม่ปรากฏข้อความไดๆขึ้นมาเลย

ปล.ใครที่สร้างวงจรตามผมตั้งแต่ต้นลองตรวจสอบดูมี Error นะจะบอกให้ลองแก้ดูตามที่โปรแกรมแนะนำดูครับ

15.วิธีต่อไฟเลี้ยงและกราวด์ให้วงจร

| วันพฤหัสบดีที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ตอนนี้จะเป็นการต่อไฟเลี้ยงและกราวด์ให้กับวงจรนะครับ สามารถททำได้ดังนี้ครับ
1.เลือกไปที่ Add 2.เลือกไปที่ Supply จะมี Supply1และSupply2 อันนี้เลือกใช้ตามความเหมาะสมเลยครับ
3.ผมใช้ Supply2 แล้วกัน แล้วเลือกไปที่ V+ เอามาต่อที่ขา C ของคอลเล็คเตอร์พร้อมต่อตัวต้านทาน R (จากบทความก่อน)ไปอีก 1 ตัว


4.แล้วไปเลือก V- มาต่อที่ขา E อีก 1ตัว มันจะขึ้น

ให้กดYes ไปก่อน

5.ต่อ GND เพื่อสร้างกราวด์ ให้กับวงจรที่ C2 พร้อมเพิ่มตัว R ขึ้นมาอีก1ตัว แค่นี้ก็เรียบร้อย(ตามภาพ)

Links